Svoboda | Graniru | BBC Russia | Golosameriki | Facebook
Transfiguration pending
ข้ามไปเนื้อหา

ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามแปซิฟิก: เจียง ไคเชก, แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ และวินสตัน เชอร์ชิล ในการประชุมไคโร เมื่อ ค.ศ. 1943
ผู้นำสุดท้ายของฝ่ายสัมพันธมิตร: เคลเมนต์ แอตต์ลี, แฮร์รี เอส. ทรูแมน และโจเซฟ สตาลิน ในการประชุมพ็อทซ์ดัม เมื่อ ค.ศ. 1945

ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ประกอบไปด้วยบุคคลสำคัญต่าง ๆ จากหลาย ๆ ประเทศ ทั้งนักการเมืองและนักการทหาร บรรดาบุคคลเหล่านี้ได้แก่

ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐ แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ และนายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร วินสตัน เชอร์ชิล ในการประชุมกาซาบล็องกา ค.ศ. 1943
ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐ แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์, นายกรัฐมนตรีแห่งสหราชอาณาจักร วินสตัน เชอร์ชิล, และผู้เข้าร่วมการประชุมในกาซาบล็องกา, ค.ศ. 1943
ผู้นำหลักสุดท้ายของฝ่ายสัมพันธมิตร: เคลเมนต์ แอตต์ลี (สหราชอาณาจักร), แฮร์รี เอส. ทรูแมน (สหรัฐ), โจเซฟ สตาลิน (สหภาพโซเวียต), เจียง ไคเชก (จีน) และชาร์ล เดอ โกล (ฝรั่งเศส)

สหรัฐ สหรัฐ[แก้]

แฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์

แนวรบด้านยุโรปและแอฟริกาเหนือ[แก้]

ดไวต์ ดี. ไอเซนฮาวร์

แนวรบด้านแปซิฟิก[แก้]

ดักลาส แมกอาร์เธอร์

ฟิลิปปินส์ เครือรัฐฟิลิปปินส์[แก้]

มานูเอล เกซอน

ปวยร์โตรีโก เครือรัฐเปอร์โตริโก[แก้]

จักรวรรดิบริติช จักรวรรดิอังกฤษและเครือจักรภพ[แก้]

สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร

สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ[แก้]

วินสตัน เชอร์ชิล
เบอร์นาร์ด มอนต์โกเมอรี
หลุยส์ เมานต์แบ็ตเทน เอิร์ลเมานต์แบ็ตเทนที่ 1 แห่งพม่า

มาเลเซีย บริติชมลายา[แก้]

นิวฟันด์แลนด์[แก้]

รัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์ในอาณัติของอังกฤษ[แก้]

เซาเทิร์นโรดีเชีย[แก้]

ออสเตรเลีย เครือรัฐออสเตรเลีย[แก้]

แคนาดา แคนาดา[แก้]

นิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์[แก้]

แอฟริกาใต้ สหภาพแอฟริกาใต้[แก้]

อินเดีย บริติชอินเดีย[แก้]

สหภาพโซเวียต สหภาพโซเวียต[แก้]

โจเซฟ สตาลิน
เกออร์กี จูคอฟ
อีวาน โคเนฟ

ไต้หวัน สาธารณรัฐจีน[แก้]

เจียง ไคเช็ค
เฉิน เฉิง (ขวาด้านหลัง) ขณะตรวจพลทหารพร้อมจอมทัพเจียง ไคเช็ค (ด้านหน้า)
  • เจียง ไคเช็ค - จอมทัพและผู้นำรัฐบาลชาตินิยม (ก๊กมินตั๋ง) ของ สาธารณรัฐจีน และเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งประเทศจีน
  • ซ่ง เหม่ย์หลิง - สุภาพสตรีหมายเลข 1 และเป็นภรรยาของนายพลเจียง ไคเช็ค เธอได้รวมรวมประชาชนในการต่อต้านการรุกรานของญี่ปุ่น
  • หลิน เซิน - เป็นประธาน(หรือประธานาธิบดี) แห่งรัฐบาลชาตินิยม ประมุขแห่งรัฐของจีน
  • เหอ ยิงฉิน เป็นหัวหน้าเสนาธิการทหารของสภาทหารแห่งชาติ
  • เฉิน เฉิง - เป็นนายพลแห่งกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีน และนักการเมืองคนสำคัญในสภาทหารแห่งชาติ
  • ไป่ ฉงซี - เป็นพันธมิตรใกล้ชิดของขุนศึกจากกวางสีนามว่า หลี่ ซ่งเริน และรองหัวหน้าเสนาธิการทหารของสภาทหารแห่งชาติ
  • หลี่ ซ่งเริน - เป็นอดีตขุนศึกจากกวางสีซึ่งต่อสู้รบร่วมกับเจียง ไคเชกในสงครามต่อต้านจีน
  • หยาน ซีซาน - เป็นอดีตขุนศึกจากชานซีซึ่งต่อสู้รบร่วมกับเจียง ไคเชกในสงครามต่อต้านจีน
  • เหว่ย หลี่ฮวง - เป็นนายพลแห่งกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีนและผู้บัญชาการแห่งกองกำลังรบนอกประเทศของจีน
  • เซฺว เยฺว่ - เป็นนายพลแห่งกองทัพปฏิวัติแห่งชาติจีนและผู้บัญชาการแห่งภูมิภาคทหารที่เก้า
  • แคลร์ ลี เชนโนลต์ - เป็นผู้บัญชาการของหน่วยพยัคฆ์บิน แต่เดิมเป็นที่ปรึกษาทางทหารของเจียงไคเช็ค
  • เหมา เจ๋อตุง - เป็นผู้นำ พรรคคอมมิวนิสต์จีน เข้าร่วมเป็นพันธมิตรกับกองทัพรัฐบาลในการต่อต้านทหารญี่ปุ่น
  • จู เต๋อ - เป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดแห่งกองทัพสายที่ 8 และเป็นผู้นำทหารระดับสูงภายในพรรคคอมมิวนิสต์จีน
  • เผิง เต๋อหวย - เป็นผู้บัญชาการทหารในช่วงการรุกร้อยกรมทหาร การรุกของคอมมิวนิสต์ขนาดใหญ่ในช่วงสงคราม

ฝรั่งเศส สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3 (ถึง พ.ศ. 2483)[แก้]

อาลแบร์ เลอเบริง

ฝรั่งเศส รัฐบาลชั่วคราวแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส (กองกำลังฝรั่งเศสเสรี ขบวนการฝรั่งเศสเสรี)[แก้]

ชาร์ล เดอ โกล

เบลเยียม ราชอาณาจักรเบลเยียม[แก้]

สาธารณรัฐแห่งสหรัฐบราซิล[แก้]

เฌตูลียู วาร์กัส

เดนมาร์ก ราชอาณาจักรเดนมาร์ก[แก้]

กรีซ ราชอาณาจักรกรีซ[แก้]

เม็กซิโก เม็กซิโก[แก้]

มานูเอล อาวิลา คามาโช

โปแลนด์สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2 (ถึง พ.ศ. 2482)[แก้]

รัฐบาลลับของโปแลนด์ (รัฐลับโปแลนด์)[แก้]

ซาอุดีอาระเบีย ราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย[แก้]

ราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย[แก้]

ยอซีป บรอซ ตีโต

เชโกสโลวาเกีย สาธารณรัฐเชโกสโลวาเกียเสรี[แก้]

แอลเบเนียเสรี[แก้]

ลักเซมเบิร์ก ราชรัฐลักเซมเบิร์ก[แก้]

นอร์เวย์ ราชอาณาจักรนอร์เวย์[แก้]

เนเธอร์แลนด์ ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์[แก้]

สมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินาแห่งเนเธอร์แลนด์

เอธิโอเปีย จักรวรรดิเอธิโอเปีย[แก้]

สมเด็จพระจักรพรรดิเฮลี เซลาสซีที่ 1 แห่งเอธิโอเปีย

อียิปต์ ราชอาณาจักรอียิปต์[แก้]

อิหร่าน รัฐจักรวรรดิแห่งอิหร่าน[แก้]

พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี

ไลบีเรีย สาธารณรัฐไลบีเรีย[แก้]

รัฐบาลชั่วคราวแห่งสาธารณรัฐเกาหลี[แก้]

คิม กู

หมายเหตุ[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]