Svoboda | Graniru | BBC Russia | Golosameriki | Facebook
ข้ามไปเนื้อหา

ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตรระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ประกอบไปด้วยบุคคลสำคัญต่าง ๆ จากหลาย ๆ ประเทศ ทั้งนักการเมืองและนักการทหาร บรรดาบุคคลเหล่านี้ได้แก่

"บิกโฟร์": (จากซ้ายไปขวา) เดวิด ลอยด์ จอร์จ (สหราชอาณาจักร), วิตโตริโอ เอ็มมานูเอล ออร์ลันโด (อิตาลี), ฌอร์ฌ เกลม็องโซ (ฝรั่งเศส) และ วูดโรว์ วิลสัน (สหรัฐ) ในแวร์ซาย
ประมุขหลักฝ่ายสัมพันธมิตร: สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร, แรมง ปวงกาเร แห่งฝรั่งเศส, จักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย, พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี, สมเด็จพระจักรพรรดิโยชิฮิโตะ แห่งญี่ปุ่น และ วูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐ
แผนที่โลกแสดงฝ่ายต่าง ๆ ของผู้เข้าร่วมในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง สีน้ำเงินคือฝ่ายสัมพันธมิตร สีส้มคือฝ่ายมหาอำนาจกลาง และสีเทาคือประเทศที่เป็นกลาง
ผู้นำหลักฝ่ายสัมพันธมิตร: เดวิด ลอยด์ จอร์จ (สหราชอาณาจักร), ฌอร์ฌ เกลม็องโซ (ฝรั่งเศส), วิตโตริโอ เอ็มมานูเอล ออร์ลันโด (อิตาลี), วูดโรว์ วิลสัน (สหรัฐ), ฮาระ ทากาชิ (ญี่ปุ่น) และนิโคไล โกลิตสิน (รัสเซีย)

รัสเซีย จักรวรรดิรัสเซีย

[แก้]
สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร (ขวา) และจักรพรรดินิโคลัสที่ 2 แห่งรัสเซีย (ซ้าย) ในปี ค.ศ. 1913[1]

สหราชอาณาจักร จักรวรรดิบริติชและเครือจักรภพ

[แก้]

สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์

[แก้]
เดวิด ลอยด์ จอร์จ, นายกรัฐมนตรีสหราชอาณาจักร

ออสเตรเลีย เครือรัฐออสเตรเลีย

[แก้]

แคนาดา แคนาดา

[แก้]
โรเบิร์ต บอร์เดน, นายกรัฐมนตรีแคนาดา

บริติชราช บริติชอินเดีย

[แก้]
  • Charles Hardinge – อุปราชแห่งอินเดีย (1910–1916)
  • Frederic Thesiger – อุปราชแห่งอินเดีย (1916–1921)

สหภาพแอฟริกาใต้ สหภาพแอฟริกาใต้

[แก้]

นิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์

[แก้]

นิวฟันด์แลนด์

[แก้]
  • Sir Edward Morris – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1909–1917)
  • Sir John Crosbie – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1917–1918)
  • Sir William Lloyd – นายกรัฐมนตรีนิวฟันด์แลนด์ (1918–1919)

ฝรั่งเศส สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3

[แก้]
ฌอร์ฌ เกลม็องโซ, นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส
  • แรมง ปวงกาเร – ประธานาธิบดีฝรั่งเศส
  • René Viviani – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (13 มิถุนายน 1914 - 29 ตุลาคม 1915)
  • Aristide Briand – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (29 ตุลาคม 1915 - 20 มีนาคม 1917)
  • Alexandre Ribot – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (20 มีนาคม 1917 - 12 กันยายน 1917)
  • Paul Painlevé – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (12 กันยายน 1917 - 16 พฤศจิกายน 1917)
  • ฌอร์ฌ เกลม็องโซ – นายกรัฐมนตรีฝรั่งเศส (ตั้งแต่ 16 พฤศจิกายน 1917)
  • โฌแซ็ฟ ฌ็อฟร์ – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (จนกระทั่ง 13 ธันวาคม 1916)
  • โรเบิร์ต นีเวลล์ – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (จนกระทั่ง เมษายน 1917)
  • ฟีลิป เปแต็ง – หัวหน้าผู้บัญชาการทหารของกองทัพบกฝรั่งเศส (ตั้งแต่ เมษายน 1917)

ราชอาณาจักรอิตาลี ราชอาณาจักรอิตาลี

[แก้]
พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี

ราชอาณาจักรเซอร์เบีย ราชอาณาจักรเซอร์เบีย

[แก้]

จักรวรรดิญี่ปุ่น จักรวรรดิญี่ปุ่น

[แก้]
โอกูมะ ชิเงโนบุ, นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นคนที่ 5

ราชอาณาจักรโรมาเนีย ราชอาณาจักรโรมาเนีย

[แก้]

สหรัฐ

[แก้]
วูดโรว์ วิลสัน, ประธานาธิบดีสหรัฐ

โปรตุเกส สาธารณรัฐโปรตุเกสที่หนึ่ง

[แก้]

ไทย ราชอาณาจักรสยาม

[แก้]
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร ราชอาณาจักรมอนเตเนโกร

[แก้]

เบลเยียม ราชอาณาจักรเบลเยียม

[แก้]
สมเด็จพระเจ้าอัลแบร์ที่ 1

บราซิล สาธารณรัฐบราซิลที่ 1

[แก้]

ราชอาณาจักรกรีซ ราชอาณาจักรกรีซ

[แก้]

ลักเซมเบิร์ก ราชรัฐลักเซมเบิร์ก

[แก้]

ไต้หวัน สาธารณรัฐจีน

[แก้]

ราชอาณาจักรฮิญาซ

[แก้]

เอมิเรตนัจญด์และฮะซาอ์

[แก้]

สาธารณรัฐอาร์มีเนียที่ 1

[แก้]

สาธารณรัฐเชโกสโลวักที่หนึ่ง สาธารณรัฐเชโกสโลวักที่ 1

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. At George's wedding in 1893, The Times claimed that the crowd may have confused Nicholas with George, because their beards and dress made them look alike superficially (The Times (London) Friday, 7 July 1893, p.5). Their facial features were only different up close.

ดูเพิ่ม

[แก้]