Svoboda | Graniru | BBC Russia | Golosameriki | Facebook
ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2018

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2018
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพอินโดนีเซีย
วันที่18 ตุลาคม – 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561[1]
ทีม16 (จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่3 (ใน 3 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ ซาอุดีอาระเบีย (3 สมัย)
รองชนะเลิศ เกาหลีใต้
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน30
จำนวนประตู114 (3.8 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม171,915 (5,731 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดประเทศกาตาร์ Abdulrasheed Umaru (7 ประตู)
2016
2020
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2562

การแข่งขัน ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2018 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 40 ของ ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี, เป็นการแข่งขันทัวร์นาเมนต์ฟุตบอลยุวชนที่จัดขึ้นสองปีต่อครั้ง จัดขึ้นโดย สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) สำหรับทีมชาติประเภทชายรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี จากแต่ละชาติสมาชิก ทัวร์นาเมนต์จัดขึ้นที่ประเทศอินโดนีเซีย โดยมีทั้งหมด 16 ทีมที่ได้ลงเล่นในทัวร์นาเมนต์

รอบคัดเลือก[แก้]

รอบคัดเลือกจะลงเล่นระหว่างวันที่ 31 ตุลาคม – 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560.[2]

ทีมที่เข้ารอบ[แก้]

The following 16 teams qualified for the final tournament.[3]

ทีม เข้ารอบในฐานะ จำนวนครั้งที่ได่เข้าร่วม ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
 อินโดนีเซีย เจ้าภาพ 17 ชนะเลิศ (1961)
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กลุ่ม เอ ชนะเลิศ 14 ชนะเลิศ (2008)
 ทาจิกิสถาน กลุ่ม บี ชนะเลิศ 4 รอบ 8 ทีมสุดท้าย (2016)
 กาตาร์ กลุ่ม ซี ชนะเลิศ 14 ชนะเลิศ (2014)
 ซาอุดีอาระเบีย กลุ่ม ดี ชนะเลิศ 14 ชนะเลิศ (1986, 1992)
 จอร์แดน กลุ่ม อี ชนะเลิศ 7 อันดับ 4 (2006)
 เกาหลีใต้ กลุ่ม เอฟ ชนะเลิศ 38 ชนะเลิศ (1959, 1960, 1963, 1978, 1980, 1982, 1990, 1996, 1998, 2002, 2004, 2012)
 จีน กลุ่ม จี ชนะเลิศ 18 ชนะเลิศ (1985)
 เวียดนาม กลุ่ม เอช ชนะเลิศ 19[note 1] รอบรองชนะเลิศ (2016)
 ญี่ปุ่น กลุ่ม ไอ ชนะเลิศ 37 ชนะเลิศ (2016)
 ออสเตรเลีย กลุ่ม เจ ชนะเลิศ 7 รองชนะเลิศ (2010)
 อิรัก กลุ่ม ซี รองชนะเลิศ[note 2] 17 ชนะเลิศ (1975, 1977, 1978, 1988, 2000)
 ไทย กลุ่ม ไอ รองชนะเลิศ[note 2] 33 ชนะเลิศ (1962, 1969)
 เกาหลีเหนือ กลุ่ม เจ รองชนะเลิศ[note 2] 13 ชนะเลิศ (1976, 2006, 2010)
 จีนไทเป กลุ่ม เอช รองชนะเลิศ[note 2] 10 อันดับ 3 (1966)
 มาเลเซีย กลุ่ม เอฟ รองชนะเลิศ[note 2] 23 รองชนะเลิศ (1959, 1960, 1968)

หมายเหตุ:

  1. Vietnam between 1959 and 1974 were to play at AFC tournaments as South Vietnam. A separate North Vietnam state did not enter all international football tournaments those times. The 19 appearances included 11 appearances as South Vietnam.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 The five best runners-up qualified for the final tournament.

สนามแข่งขัน[แก้]

ที่ตั้งของสนามแข่งขันในฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2018
จาการ์ตา เบอกาซี โบโกร์
สนามกีฬาหลักเกอโลราบุงการ์โน สนามกีฬาปาตรียตจันดราบากา สนามกีฬาปากันซารี
ความจุ: 77,193 ความจุ: 30,000 ความจุ: 30,000

การจับสลาก[แก้]

16 ทีมจะถูกจับสลากอยู่ในสี่กลุ่มที่มีสี่ทีม.

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4

 อินโดนีเซีย (เจ้าภาพ; ตำแหน่ง เอ1)
 ญี่ปุ่น
 ซาอุดีอาระเบีย
 เวียดนาม

 อิรัก
 ทาจิกิสถาน
 เกาหลีใต้
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

 ออสเตรเลีย
 กาตาร์
 จีน
 ไทย

 เกาหลีเหนือ
 จอร์แดน
 มาเลเซีย
 จีนไทเป

ผู้เล่น[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบ 8 ทีมสุดท้าย.

เวลาทั้งหมดคือเวลาท้องถิ่น, WIB (UTC+7).

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  กาตาร์ 3 2 0 1 11 7 +4 6[a] รอบแพ้คัดออก
2  อินโดนีเซีย (H) 3 2 0 1 9 7 +2 6[a]
3  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3 2 0 1 10 3 +7 6[a]
4  จีนไทเป 3 0 0 3 2 15 −13 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 1.2 ผลการแข่งขัน เฮด-ทู-เฮด: สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 2–1 กาตาร์, กาตาร์ 6–5 อินโดนีเซีย, อินโดนีเซีย 1–0 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์. ตารางคะแนน เฮด-ทู-เฮด:
    • กาตาร์: 3 pts, 0 GD, 7 GF
    • อินโดนีเซีย: 3 pts, 0 GD, 6 GF
    • สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์: 3 pts, 0 GD, 2 GF
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 2–1 กาตาร์
Fawzi ประตู 6'
Al. Saleh ประตู 41'
รายงาน Umaru ประตู 36'
ผู้ชม: 2,124 คน
ผู้ตัดสิน: Ahmed Al-Ali (จอร์แดน)
อินโดนีเซีย 3–1 จีนไทเป
Egy ประตู 50'
Witan ประตู 70'89'
รายงาน Wang Chung-yu ประตู 53'
ผู้ชม: 17,320 คน
ผู้ตัดสิน: Mooud Bonyadifard (อิหร่าน)

จีนไทเป 1–8 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
Wu Yen-shu ประตู 74' รายงาน Fawzi ประตู 10'
Al. Saleh ประตู 20'67'
Rashed ประตู 35'75'
Mubarak ประตู 51'59'
Al-Naqbi ประตู 70'
ผู้ชม: 4,781 คน
ผู้ตัดสิน: Sherzod Kasimov (อุซเบกิสถาน)
กาตาร์ 6–5 อินโดนีเซีย
Ali ประตู 11'51'
Umaru ประตู 14'41'56'
Waad ประตู 24'
รายงาน Luthfi ประตู 28'
Rivaldo ประตู 65'73'81'
Saddil ประตู 69'
ผู้ชม: 38,217 คน
ผู้ตัดสิน: ศิวกร ภูอุดม (ไทย)

อินโดนีเซีย 1–0 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
Witan ประตู 23' รายงาน
ผู้ชม: 30,022 คน
ผู้ตัดสิน: Kim Hee-gon (เกาหลีใต้)
กาตาร์ 4–0 จีนไทเป
Mansour ประตู 57'
Ali ประตู 61'77'
Umaru ประตู 86' (ลูกโทษ)
รายงาน
ผู้ชม: 5 คน
ผู้ตัดสิน: Arumughan Rowan (อินเดีย)

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ญี่ปุ่น 3 3 0 0 13 3 +10 9 รอบแพ้คัดออก
2  ไทย 3 1 1 1 6 7 −1 4
3  เกาหลีเหนือ 3 1 0 2 4 7 −3 3
4  อิรัก 3 0 1 2 3 9 −6 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
อิรัก 3–3 ไทย
Abdulridha ประตู 37'
Ramadhan ประตู 42'
Abdulkareem ประตู 66'
รายงาน ก. กฤษดา ประตู 26'
กรวิชญ์ ประตู 87'
ศุภณัฏฐ์ ประตู 90+4'
ผู้ชม: 50 คน
ผู้ตัดสิน: Arumughan Rowan (อินเดีย)
ญี่ปุ่น 5–2 เกาหลีเหนือ
K. Saito ประตู 8'
Ito ประตู 19'
Kubo ประตู 65'
Miyashiro ประตู 89'
Abe ประตู 90+3'
รายงาน Kye Tam ประตู 36'
Kang Kuk-chol ประตู 41' (ลูกโทษ)
ผู้ชม: 35 คน
ผู้ตัดสิน: Khamis Al-Kuwari (กาตาร์)

เกาหลีเหนือ 1–0 อิรัก
Pak Kwang-chon ประตู 55' รายงาน
ผู้ชม: 52 คน
ผู้ตัดสิน: Hussein Abo Yehia (เลบานอน)
ไทย 1–3 ญี่ปุ่น
ศุภณัฏฐ์ ประตู 54' รายงาน Miyashiro ประตู 27'44'
K. Saito ประตู 42'
ผู้ชม: 134 คน

ญี่ปุ่น 5–0 อิรัก
Taki ประตู 10'
Tagawa ประตู 27'
Hara ประตู 34'77'
K. Saito ประตู 85'
รายงาน
ผู้ชม: 138 คน
ผู้ตัดสิน: Sherzod Kasimov (อุซเบกิสถาน)
ไทย 2–1 เกาหลีเหนือ
สัมพันธ์ ประตู 38'
กรวิชญ์ ประตู 78'
รายงาน Kang Kuk-chol ประตู 45'
ผู้ชม: 70 คน
ผู้ตัดสิน: Hanna Hattab (ซีเรีย)

กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เกาหลีใต้ 3 2 1 0 7 3 +4 7 รอบแพ้คัดออก
2  ออสเตรเลีย 3 1 2 0 4 3 +1 5
3  จอร์แดน 3 1 1 1 4 5 −1 4
4  เวียดนาม 3 0 0 3 3 7 −4 0
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
เวียดนาม 1–2 จอร์แดน
Dũng ประตู 21' รายงาน Atieh ประตู 29'
Al-Zu'bi ประตู 89'
ผู้ชม: 95 คน
ผู้ตัดสิน: Yudai Yamamoto (ญี่ปุ่น)
เกาหลีใต้ 1–1 ออสเตรเลีย
Jeon Se-jin ประตู 52' รายงาน Najjarine ประตู 89'

ออสเตรเลีย 2–1 เวียดนาม
Thurgate ประตู 37'
Folami ประตู 76'
รายงาน Nam ประตู 85'
ผู้ชม: 44 คน
ผู้ตัดสิน: Omar Al-Yaqoubi (โอมาน)
จอร์แดน 1–3 เกาหลีใต้
Al-Zebdieh ประตู 77' รายงาน Cho Young-wook ประตู 3'
Jeon Se-jin ประตู 79'
Choi Jun ประตู 90+2'
ผู้ชม: 79 คน
ผู้ตัดสิน: Mooud Bonyadifard (อิหร่าน)

เวียดนาม 1–3 เกาหลีใต้
ประตู 13' รายงาน Cho Young-wook ประตู 45' (ลูกโทษ)90+4' (ลูกโทษ)
Kim Hyun-woo ประตู 77'
ผู้ชม: 141 คน
ผู้ตัดสิน: Hussein Abo Yehia (เลบานอน)
ออสเตรเลีย 1–1 จอร์แดน
Puflett ประตู 10' รายงาน Al-Zebdieh ประตู 76'
ผู้ชม: 42 คน
ผู้ตัดสิน: ศิวกร ภูอุดม (ไทย)

กลุ่ม ดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ซาอุดีอาระเบีย 3 3 0 0 6 2 +4 9 รอบแพ้คัดออก
2  ทาจิกิสถาน 3 1 1 1 4 5 −1 4
3  จีน 3 1 0 2 2 2 0 3
4  มาเลเซีย 3 0 1 2 3 6 −3 1
แหล่งที่มา : เอเอฟซี
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ซาอุดีอาระเบีย 2–1 มาเลเซีย
Al-Ammar ประตู 24'
Al-Saleem ประตู 78'
รายงาน Hadi ประตู 88'
ผู้ชม: 181 คน
ผู้ตัดสิน: Kim Hee-gon (เกาหลีใต้)
ทาจิกิสถาน 1–0 จีน
Solehov ประตู 77' รายงาน
ผู้ชม: 153 คน
ผู้ตัดสิน: Hanna Hattab (ซีเรีย)

จีน 0–1 ซาอุดีอาระเบีย
รายงาน Al-Qahtani ประตู 81'
ผู้ชม: 164 คน
ผู้ตัดสิน: Yudai Yamamoto (ญี่ปุ่น)
มาเลเซีย 2–2 ทาจิกิสถาน
Hadi ประตู 11'
Hanonov ประตู 55' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงาน Panjshanbe ประตู 34' (ลูกโทษ)
Yodgorov ประตู 45+1'
ผู้ชม: 109 คน
ผู้ตัดสิน: Ahmed Al-Ali (จอร์แดน)

ซาอุดีอาระเบีย 3–1 ทาจิกิสถาน
Al-Zaqarta ประตู 65'70'
Qirghizboev ประตู 73' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงาน Boboev ประตู 29'
ผู้ชม: 170 คน
ผู้ตัดสิน: Omar Al-Yaqoubi (โอมาน)
จีน 2–0 มาเลเซีย
Tao Qianglong ประตู 44'
Xu Yue ประตู 58'
รายงาน
ผู้ชม: 102 คน
ผู้ตัดสิน: Khamis Al-Kuwari (กาตาร์)

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบ 8 ทีมรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
28 ตุลาคม – Jakarta
 
 
 กาตาร์
(ต่อเวลา)
7
 
1 พฤศจิกายน – Jakarta
 
 ไทย3
 
 กาตาร์1
 
29 ตุลาคม – Bekasi
 
 เกาหลีใต้3
 
 เกาหลีใต้1
 
4 พฤศจิกายน – Jakarta
 
 ทาจิกิสถาน0
 
 เกาหลีใต้
 
28 ตุลาคม – Jakarta
 
 ซาอุดีอาระเบีย
 
 ญี่ปุ่น2
 
1 พฤศจิกายน – Jakarta
 
 อินโดนีเซีย0
 
 ญี่ปุ่น0
 
29 ตุลาคม – Bekasi
 
 ซาอุดีอาระเบีย2
 
 ซาอุดีอาระเบีย3
 
 
 ออสเตรเลีย1
 

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]

ทีมที่ชนะเลิศจะได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2019.



เกาหลีใต้ 1–0 ทาจิกิสถาน
Jeon Se-jin ประตู 44' รายงาน
ผู้ชม: 58 คน
ผู้ตัดสิน: Ahmed Al-Ali (จอร์แดน)

ซาอุดีอาระเบีย 3–1 ออสเตรเลีย
Al-Ammar ประตู 7'
Al-Buraikan ประตู 50'
Abdulhamid ประตู 82'
รายงาน Atkinson ประตู 42'
ผู้ชม: 110 คน
ผู้ตัดสิน: Sherzod Kasimov (อุซเบกิสถาน)

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

กาตาร์ 1–3 เกาหลีใต้
Lee Jae-ik ประตู 52' (เข้าประตูตัวเอง) รายงาน Jeon Se-jin ประตู 23'33'
Um Won-sang ประตู 45+2'
ผู้ชม: 145 คน
ผู้ตัดสิน: Mooud Bonyadifard (อิหร่าน)

ญี่ปุ่น 0–2 ซาอุดีอาระเบีย
รายงาน Al-Ammar ประตู 29'
Al-Ghannam ประตู 45+1'
ผู้ชม: 311 คน
ผู้ตัดสิน: Ahmed Al-Ali (จอร์แดน)

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

อันดับผู้ทำประตู[แก้]

การแข่งขันทั้งหมดมี 114 ประตูที่ทำได้ใน 30 นัด สำหรับค่าเฉลี่ย 3.8 ประตูต่อนัด ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน

7 ประตู
5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง
  • เกาหลีใต้ Lee Jae-ik (ในนัดที่พบกับ กาตาร์)
  • ทาจิกิสถาน Vahdat Hanonov (ในนัดที่พบกับ มาเลเซีย)

ผู้สนับสนุน[แก้]

TOYOTA

NIKON

SAISON CARD

CONTINENTAL TIRES

FLY EMIRATES

FAMILY MART

KDDI AU

MAKITA

JAPAN READING NATIONAL NEWSPAPER

ONE ASIA ONE GOAL

อ้างอิง[แก้]

  1. "AFC Competitions Calendar 2018" (PDF). AFC. 12 April 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-05-10. สืบค้นเมื่อ 2017-03-27.
  2. "AFC Competitions Calendar 2017" (PDF). AFC. 12 April 2016.
  3. "Cast finalised for AFC U-19 Championship 2018". AFC. 9 November 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]